• Home
  • ไลไฟลวงโลก(#LightNoFidelity)
    • RESEARCH - The Magic
    • PATENT - The Witness
    • PROTOTYPES of Magic
    • STANDARD - The Evidence
    • MARKET - Bubble Business
    • LiFi - True Engineering ?
    • LiFi - on Main Media
  • What LiFi is
    • Kālāma Sutta
    • REAL-VLC
  • ชดเชย (Project)
    • โครงการ ๑: PrincipleOfVLC
    • โครงการ ๒: (Book-pending)
    • โครงการ ๓: RiskRoadmap
    • โครงการ ๔: Standards
    • โครงการ ๕: Glossary
    • โครงการ ๖: Survey
    • โครงการ ๗: KITs
    • โครงการ ๘: IP
  • หลักสูตร (Courses)
    • Bright Business
    • General Aspect
  • Column
    • บันทึกสำรอง(FB)
  • Book(s)
    • Book-1
    • Book-2
  • Micro-LED
  • Student-Proj
  • About
  • NEWS
  • Collections
  • VLC Survey
  • Thai Inter Year of Light 2015
  • Contact
  • Funny-LiFi
LED-Smart Connections
(Official URL): LED-SmartCoN.Org  by ECTI & IEEE ComSoc (Th)

Student Projects: February 2017

Picture

Student Projects: 2017

Picture

Project I: โครงงาน ๑ 

Mobile app: Flickering detector/ แอปตรวจจับการกระพริบแสง           (ช่วงความถี่ลมชัก)

แอลอีดีมีการประยุกต์ใช้เพื่อการส่องสว่างมากขึ้นเนื่องจากประสิทธิภาพ ความสว่างกับการประหยัดพลังงาน แต่กระนั้นผลจากความไม่สมบูรณ์ของวงจรขับแสง วงจรหรี่ และอื่นๆ อาจทำให้แสงจากแอลอีดีเกิดการกระพริบได้โดยเฉพาะช่วงความถี่ต่ำมากที่อาจมีผลกระทบกับผู้ที่เป็นโรคลมชัก หรืออาจส่งผลเสียแม้กับคนปกติที่ไม่สามารถตรวจจับการกระพริบด้วยตาเปล่าในระยะยาวได้ อุปกรณ์ตรวจจับราคาถูกจากการประยุกต์ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จึงเป็นทางเลือกเพื่อการตรวจระวังได้
 
วัตถุประสงค์

  • เพื่อสร้างแอปบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Android/ iOS) สำหรับการตรวจจับการกระพริบของแสง
    ด้วยหน่วยรับรู้หรือเซ็นเซอร์ประจำตัวโทรศัพท์เอง (กล้อง หน้าสัมผัส ฯ) หรืออุปกรณ์ต่อภายนอก
  • เพื่อศึกษาผลของวงจรขับแอลอีดีประเภทต่างๆ ที่ส่งผลกับการกระพริบและการแก้ไข
  • เพื่อศึกษาผลของวงจรหรี่ (dimming control) กับการกระพริบและการแก้ไข

คุณสมบัติ .......(ศึกษาจากบทความ LED Lighting Flicker and Potential Health Concerns:... )
  • ครอบคลุมช่วงความถี่ต้องห้าม 1-200 Hz ด้วยอุปกรณ์รับสัญญาณภายนอก (external detector)
  • ครอบคลุมช่วงความถี่ได้กว้างมากที่สุดที่กล้องหรือเซ็นเชอร์ที่มีอยู่กับตัวโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถตรวจจับได้

Picture

Project II: โครงงาน ๒

วงจรขับแอลอีดีปรับความถี่ได้เพื่อการระบุตำแหน่งโดยไม่กระพริบ
(Frequency ID - VLC localization)

การประยุกต์ใช้งานแอลอีดีเพื่อความสว่างปกติ สามารถพ่วงให้ข้อมูลทั้งในรูปแบบตายตัวเช่นข้อมูลระบุตำแหน่ง หรือแบบปรับเปลี่ยนได้สำหรับการสื่อสารด้วยแสงสีขาว (visible light communications) จากเทคโนโลยีที่มีความพร้อมในปัจจุบันมีความเหมาะสมที่จะบรรจุข้อมูลระบุตำแหน่งให้กับโคมไฟแอลอีดีที่ติดตั้งได้โดยการปรับเปลี่ยนที่วงจรขับแสงในรูปแบบการเปลี่ยนความถี่ที่ต่างช่วงกันได้ และภาครับสามารถประยุกต์ใช้งานได้สะดวกในจากการตรวจจับความถี่

วัตถุประสงค์

  • เพื่อสร้างวงจรขับแสงแอลอีดีเดี่ยวแต่ปรับเปลี่ยนความถี่ที่ต่างช่วงกันได้ง่ายและมีซับซ้อนน้อย ราคาถูก
  • เพื่อสร้างอุปกรณ์ภาครับที่สามารถแยกความถี่หลัก ความถี่พื้นที่ทับซ้อน หรือวงจรกรองความถี่แสงที่ไม่ต้องการได้สะดวก ซับซ้อนน้อยและราคาถูก
  • เพื่อออกแบบทดสอบเป็นสนาม (testbed) ความถี่แสงเพื่อการสร้างการประยุกต์การระบุตำแหน่ง 

คุณสมบัติ testbed

1. กำหนดหลายรูปแบบของขนาดพื้นที่ห้อง(เพดาน) 
n X m กับจำนวนโคมหลอด

2. ออกแบบกำหนดความถี่หลัก ความถี่รอง 
ช่วงความถี่ต้องห้าม (band gap) ตามรูปแบบห้องที่ต้องการ




Project III: โครงงาน ๓ - Lighting plus analog transciever

Picture

Project IV: โครงงาน ๔ - Colored-sound spot

Picture

BIG Project V: โครงงาน ๕ - Light Positioning 

Picture

BIG Project VI: โครงงาน ๖ - VLC multi purposes - platform 

Picture

โครงงาน นศ.ป.โท และกลุ่มวิจัย: (เรียงตามลำดับ - ข้อมูลเพิ่ม click ที่ภาพ)
1. VLC Tx 60 MHz 2. Simplex (up to 100MHz) prototype 3. Robot 4. VLC handover (patented) 5. VLC localization & robot (patented) 6. VLC design & simulation (patented) 

Recent News

Picture
Welcome: เขียนมาคุยกัน LED-Smart Connection
(นศ. ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา (cc) ทุกครั้ง ทีมงานสะดวกร่วมงานเชิงสร้างสรรค์กันเป็นทีม)

Google Android: Blockly
https://developers.google.com/blockly/

Picture
ระดมจินตนาการ !
180 องศาการรับแสง ... 360 จะไม่ได้เชียวหรือ ?
Picture
แล้วมาระดมกำลังความรู้ ความคิด งบประมาณ ไม่จำกัดสถาบันเพราะแสงส่องได้ทั่วถึงกันเมื่อประสานโดย LED-SmartCon.Org โดยสมาคมวิชาการ ECTI
updated: March 28, 2017
Powered by Create your own unique website with customizable templates.